วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ของดีแหลมหิน
ของดีแหลมหินมีเกี่ยวกับเรื่องอาหารทะเลมากมาน เช่น ปูเป็นอาหารขึ้นชื่อของแหลมหินอย่างหนึ่ง ถ้าคุณต้องการซื้อปูต้องไปที่แหลมหินเพราะเขามีปูหลายชนิดถ้าเกิดคุณต้องการซื้อต้องไปที่แหลมหิน
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปปูที่เป็นอาหารสวย

ของดีในน้ำเชี่ยว
อีกหนึ่งมนตร์เสน่ห์ของคนบ้านน้ำเชี่ยว คือวิถีหัตกรรมพื้นบ้านที่ถือเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ ก็คือ "หมวกใบจาก" หรือที่หลาย ๆ คนรู้จักกันในนามของ "งอบน้ำเชี่ยว" จุดเด่นคือมีความแข็งแรงทนทาน เหมาะสำหับสวมใส่เพื่อกันแดดกันฝน รูปทรงหลากหลาย รูปทรงที่เป็นแบบดั้งเดิมคือทรงกระทะคว่ำ ซึ่งกว่าจะได้งอบแต่ละใบใช้เวลาสานนานร่วมสัปดาห์กันเลยทีเดียว โดยการสานงอบมีอยู่คู่กับคนน้ำเชี่ยวมานานกว่า 100 ปี
พาเที่ยวตราด
วัดน้ำเชี่ยว
บ้านน้ำเชี่ยว สถานที่ท่องเที่ยวชุมชนเชิงวิถีชีวิตวัฒนธรรม ตั้งอยู่ใน ต.น้ำเชี่ยว อ.แหลมงอบ จ.ตราด เป็นหมู่บ้านในเส้นทางผ่านไป ขึ้นเรือสู่เกาะช้าง หมู่บ้านน้ำเชี่ยวแห่งนี้ ยังได้เป็นรับเลือกให้เป็น “หมู่บ้าน OVC” (OTOP Village Champion) ที่ได้รับการสนับสนุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย รวมถึงรางอุตสาหรรมท่องเที่ยวไทยดีเด่นจากากรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บ้านน้ำเชี่ยวมี พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่เป็นจำนวนมาก มีคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน ซึ่งคลองนี้มีต้นกำเนิด อยู่ที่เขาวังปลา อยู่ระหว่างอำเภอแหลมงอบและอำเภอเมืองตราด เดิมทีประชากรของตำบลน้ำเชี่ยว เป็นคนไทยนับถือศาสนาพุทธ ต่อมามีพ่อค้าชาวจีนล่องเรือสำเภามาค้าขายสินค้าที่ท่าเรือบ้านน้ำเชี่ยว และได้ตั้งรกรากอยู่ที่นี่ ทำให้ชาวน้ำเชี่ยวส่วนหนึ่งเป็นคนไทย เชื้อสายจีน และในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีชาวมุสลิมซึ่งเรียกตัวเองว่า “แขกจาม หรือ จำปา” อพยพหนีสงครามมาจากประเทศเขมร   มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ริมคลองน้ำเชี่ยว และมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยชาวพุทธและมุสลิมสามารถแต่งงานข้ามศาสนาได้   ซึ่งพี่น้องทั้งสอง ศาสนาอาศัยอยู่ร่วมกันในตำบลน้ำเชี่ยวอย่างสันติสุขด้วยความสัมพันธ์อันดีตลอดมา ที่มาของชื่อชุมชน “น้ำเชี่ยว” มาจากพื้นที่ส่วนใหญ่ อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่เป็นจำนวนมาก มีคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน ซึ่งคลองนี้มีต้นกำเนินอยู่ที่เขาวังปลา อยู่ระหว่างอำเภอแหลมงอบและอำเภอเมืองตราด เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำในคลองจะไหลเชี่ยวมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “คลองน้ำเชี่ยว” ไหลผ่านกลางหมู่บ้านน้ำเชี่ยวลงสู่ทะเลอ่าวไทยทางใต้ที่บ้านปากคลอง ตำบลหนองโสน อำเภอเมืองตราด ซึ่งชาวบ้านใช้เป็นแหล่งประมง พื้นบ้านและใช้เป็นเส้นทางออกทะเลเพื่อทำการประมงจนถึงปัจจุบันชาวตำบลน้ำเชี่ยวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมง ทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และค้าขาย

            โรงเรียนวัดแหลมหิน                                                               



ประวัติโรงเรียน
         โรงเรียนวัดแหลมหิน  เริ่มตั้งครั้งแรกเป็นโรงเรียนวัด  ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานว่าเป็นปีใด  โดยเจ้าอาวาสวัดชื่อพระอธิการเจียม  เป็นครูผู้สอน  โดยใช้ศาลาการเปรียญวัดแหลมหิน  ตำบลหนองคันทรง  อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด  เป็นสถานที่เรียน

วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

 วัฒนธรรมของน้ำเชี่ยว                                                              

 ตราด...จังหวัดสุดท้ายที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย ที่นี่เป็นที่ตั้งของเกาะที่สวยงามจำนวนมาก จนได้ชื่อว่าเป็น "เมืองเกาะครึ่งร้อย" โดยมีเกาะที่สำคัญที่สุดคือ เกาะช้าง ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ รวมถึงเกาะสวย ๆ เช่น เกาะกูด เกาะที่มีหาดทรายละเอียดสีขาว น้ำทะเลสีฟ้าใส ล้วนเป็นมนตร์เสน่ห์แห่งความบริสุทธิ์ของธรรมชาติ หรือเกาะหมาก เกาะที่มีรูปร่างคล้ายดาวสี่แฉก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบชายฝั่งทะเล หนาแน่นด้วยสวนมะพร้าวและสวนยางพารา โดยรอบมีอ่าว ชายหาดสวยงาม และน้ำใส บริเวณชายฝั่งรอบเกาะและเกาะใกล้เคียงจะพบแนวปะการังที่สมบูรณ์ (ดูเพิ่มเติมได้ที่ จังหวัดตราด)

พาเที่ยวตราด   และที่ชุมชนบ้านน้ำเชี่ยวแห่งนี้ถือว่ามีประวัติที่ยาวนาน มีความหลากหลายทั้งวัฒนธรรมและศาสนา ซึ่งในชุมชนนี้ส่วนใหญ่จะมี 2 ศาสนา 3 วัฒนธรรม คือไทย-พุทธ, มุสลิม และคนไทยเชื้อสายจีน ซึ่งที่นี่จะมี "มัสยิดอัลกุบรอ" ถือเป็นมัสยิดแห่งแรกของภาคตะวันออก มีอายุ 200 กว่าปี มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 มัสยิดแห่งนี้ถูกก่อสร้างขึ้นพร้อมกับคนที่อพยพเข้ามา และได้มีการปรับปรุงพัฒนาขึ้นมาเรื่อย ๆ

     พาเที่ยวตราด และอีกหนึ่งมนตร์เสน่ห์ของคนบ้านน้ำเชี่ยว คือวิถีหัตกรรมพื้นบ้านที่ถือเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ ก็คือ "หมวกใบจาก"

วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

    หมู่บ้านน้ำเชี่ยว                                                                    

บ้านน้ำเชี่ยว สถานที่ท่องเที่ยวชุมชนเชิงวิถีชีวิตวัฒนธรรม ตั้งอยู่ใน ต.น้ำเชี่ยว อ.แหลมงอบ จ.ตราด เป็นหมู่บ้านในเส้นทางผ่านไป ขึ้นเรือสู่เกาะช้าง หมู่บ้านน้ำเชี่ยวแห่งนี้ ยังได้เป็นรับเลือกให้เป็น “หมู่บ้าน OVC” (OTOP Village Champion) ที่ได้รับการสนับสนุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย รวมถึงรางอุตสาหรรมท่องเที่ยวไทยดีเด่นจากากรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บ้านน้ำเชี่ยวมี พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่เป็นจำนวนมาก มีคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน ซึ่งคลองนี้มีต้นกำเนิด อยู่ที่เขาวังปลา อยู่ระหว่างอำเภอแหลมงอบและอำเภอเมืองตราด เดิมทีประชากรของตำบลน้ำเชี่ยว เป็นคนไทยนับถือศาสนาพุทธ 

                         


สะพานน้ำเชี่ยว
สะพานน้ำเชี่ยว สถานที่ท่องเที่ยวชุมชนเชิงวิถีชีวิตวัฒนธรรม ตั้งอยู่ใน ต.น้ำเชี่ยว อ.แหลมงอบ จ.ตราด เป็นหมู่บ้านในเส้นทางผ่านไป ขึ้นเรือสู่เกาะช้าง หมู่บ้านน้ำเชี่ยวแห่งนี้ ยังได้เป็นรับเลือกให้เป็น “หมู่บ้าน OVC” (OTOP Village Champion) ที่ได้รับการสนับสนุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย รวมถึงรางอุตสาหรรมท่องเที่ยวไทยดีเด่นจากากรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บ้านน้ำเชี่ยวมี พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่เป็นจำนวนมาก มีคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน ซึ่งคลองนี้มีต้นกำเนิด อยู่ที่เขาวังปลา อยู่ระหว่างอำเภอแหลมงอบและอำเภอเมืองตราด เดิมทีประชากรของตำบลน้ำเชี่ยว เป็นคนไทยนับถือศาสนาพุทธ ต่อมามีพ่อค้าชาวจีนล่องเรือสำเภามาค้าขายสินค้าที่ท่าเรือบ้านน้ำเชี่ยว และได้ตั้งรกรากอยู่ที่นี่ ทำให้ชาวน้ำเชี่ยวส่วนหนึ่งเป็นคนไทย เชื้อสายจีน และในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีชาวมุสลิมซึ่งเรียกตัวเองว่า “แขกจาม หรือ จำปา” อพยพหนีสงครามมาจากประเทศเขมร   มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ริมคลองน้ำเชี่ยว และมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยชาวพุทธและมุสลิมสามารถแต่งงานข้ามศาสนาได้   ซึ่งพี่น้องทั้งสอง ศาสนาอาศัยอยู่ร่วมกันในตำบลน้ำเชี่ยวอย่างสันติสุขด้วยความสัมพันธ์อันดีตลอดมา ที่มาของชื่อชุมชน “น้ำเชี่ยว” มาจากพื้นที่ส่วนใหญ่ อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่เป็นจำนวนมาก มีคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน ซึ่งคลองนี้มีต้นกำเนินอยู่ที่เขาวังปลา อยู่ระหว่างอำเภอแหลมงอบและอำเภอเมืองตราด เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำในคลองจะไหลเชี่ยวมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “คลองน้ำเชี่ยว” ไหลผ่านกลางหมู่บ้านน้ำเชี่ยวลงสู่ทะเลอ่าวไทยทางใต้ที่บ้านปากคลอง ตำบลหนองโสน อำเภอเมืองตราด ซึ่งชาวบ้านใช้เป็นแหล่งประมง พื้นบ้านและใช้เป็นเส้นทางออกทะเลเพื่อทำการประมงจนถึงปัจจุบันชาวตำบลน้ำเชี่ยวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมง ทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และค้าขาย
วัฒนธรรมของแหลมหิน
แหลมหินซีฟู๊ด (Leam Hin Seafood)(Phuket) แหลมหินซีฟู๊ด ร้านอาหารทะเลดั้งเดิมของคนภูเก็ต ตั้งอยู่ริมหาด บนชายฝั่งตะวันออก ใกล้เกาะมะพร้าว แหลมหินซีฟู๊ดเป็นที่รู้จักอย่างดี ทั้งในหมู่คนภูเก็ต และนักท่องเที่ยว เราได้รับการยอมรับและมีชื่อเสียง ในเรื่องคุณภาพของอาหารทะเล ที่สดใหม่จากทะเลอันดามัน ปรุงด้วยฝีมือเชฟชาวไทย ผู้มากประสบการณ์ ทุ่มเทเพื่อให้อาหารทุกจาน คงเอกลักษณ์ความเป็นไทย และรสจัดจ้านแบบอาหารใต้ไว้ได้อย่างครบถ้วน
แหลมหินซีฟู๊ด บริการอาหารไทยเลิศรสหลากหลายเมนู ในสถานที่กว้างขวางที่สามารถรองรับงานจัดเลี้ยง งานปาร์ตี้ต่างๆ ได้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น งานเลี้ยงวันเกิด งานเลี้ยงสังสรรค์ เลี้ยงรุ่น รวมญาติ ฯลฯ แหลมหินซีฟู๊ดรับรองลูกค้าได้มากสุดถึง 500 ที่นั่ง
 
ป่าชายเเลนเเหลมหิน
สวัสดีครับ สบายดีกันป่าวครับ ช่วงนี้อากาศร้อนเลยนอนไม่ค่อยหลับ ไม่มีอารมณ์เขียนบล๊อก ... เกี่ยวกันป่าวเนี่ย...
วันนี้จะพาไปเที่ยวแถวๆ ชายทะเล ประมาณชายเลนอะ ซึ่งเค้าเรียกว่าแหลมหินครับ อยุ่ที่จังหวัดภูเก็ต ซึ่งมีร้านอาหารที่สามารถพาครอบครัวไปกินเลี้ยงสังสรรค์ได้ โดยมีทั้งกินบนบกและก็กินบนแพ ซึ่งต้องนั่งเรือออกไป ใครได้มาเที่ยวก็อย่าลืมไปกันนะครับ อาหารอร่อยครับ สดๆ หุหุ มะได้โฆษณาให้ร้านนะครับ แต่เคยไปมาเลยมาบอกต่อๆ
ด้วยเหตุที่เพื่อนชวนไปเก็บรูปเลยได้นำมาเล่ากันฟัง บรรยากาศเป็นภาพที่ยังเป็นธรรมชาติอยู๋มากถึงแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง เอาเป็นว่าไปดูภาพกันดีก่า

กระโจมไฟ

ชื่อแหล่งท่องเที่ยว : กระโจมไฟเกาะปูประเภทสถานที่ท่องเที่ยว : สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวิชาการสถานที่ตั้ง : ม.1หมายเลขติดต่อสอบถาม : 039-542443latitude : 12.16longitude : 102.57รายละเอียด : สถานที่พักผ่อนริมทะเล ใกล้ปากแม่น้ำตราด ใกล้โรงแรมบ้านปู รีสอร์ท แอนด์สปา 500 เมตร ใกล้ป่าชายเลนบ้านท่าระแนะ 2 กิโลเมตรการเดินทาง : จากจังหวัดตราด เส้นทางอำเภอแหลมงอบ 3 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายไปเส้นทางแหลมศอก 7 กิโลเมตร ถึงสามแยกแหลมหิน เลี้ยวซ้าย 4 กิโลเมตร ถึงกระโจมไฟเกาะปู
เเนะนำสมาชิคใน
1.          1.   นายกษิดิ์เดช พยัพแก้ว        เลขที่ 25
2.          2.   นางสาวกฤชอร สงวนหงษ์               เลขที่20
3.           3.  นาย นครินทร์ เง็กลี้ เลขที่ 3
4.         4.    นายชัชพิสิท  ยิสารคุณ      เลขที่ 2
กรายงานหัวข้อเรื่องที่จะรายงาน
1.กระโจมไฟ
2.ป่าชายเลนแหลมหิน
3.วัฒนธรรมของแหลมหิน
4.สะพานน้ำเชี่ยว
5.หมู่บ้านน้ำเชี่ยว
6.วัฒนธรรมของน้ำเชี่ยว
7.วัดแหลมหิน
8.วัดน้ำเชี่ยว
9.ของดีน้ำเชี่ยว
10.ของดีแหลมหิน